การ พัฒนา กระบวนการ คิด — การพัฒนา กระบวนการ คิด รูป แบบ ต่างๆ

ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของกระบวนการคิดที่สลับซับซ้อน ทักษะการคิดอาจจัดเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคือ 1. ทักษะพื้นฐาน (basic skills) ได้แก่ ทักษะการสื่อความหมาย (communication skills) ทักษะการคิดที่เป็นแกนหรือทักษะการคิดทั่วไป (core or general thinking skills) 2. ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน (higher order or more complexed thinking skills) ทักษะพื้นฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นต่อการคิดในระดับที่สูงขึ้นหรือซับซ้อน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นทักษะการสื่อความหมายที่บุคคลทุกคนจำเป็นต้องใช้ในการ สื่อสารความคิดของตน การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิดประกอบด้วยองค์ความรู้ที่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์แก่ผู้เรียน 3 ด้านคือ 1. ด้านความรู้ (Knowledge: K) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ (1. 1) เนื้อหาสาระของวิชานักคิด คือ สาระวิชาที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ ประกอบด้วยเครื่องมือช่วยคิด กระบวนการคิด ทักษะการคิด (1. 2) ความรู้บูรณาการ คือ สาระเรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นสภาพการณ์ที่กำหนดสภาพแวดล้อมรอบตัว ปัญหาในชีวิตประจำวัน ที่ถูกนำมาคิด ซึ่งเนื้อหาจะเป็นสาระของวิชาใดก็ได้ จึงเป็นความรู้เชิงบูรณาการ 2.

การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด | สาระ ความรู้ ข่าวสาร ความบันเทิง ของชาวมัธยมศึกษา และประถมศึกษา : Knowledge for Thai Student | ThaiGoodView.com

การประยุกต์ เป็นการนำ " ภาคทฤษฎี " สู่ " การปฏิบัติ " 2. การประยุกต์ เป็นการนำ " ความรู้สาขาหนึ่ง " มาปรับใช้กับ " อีกสาขาหนึ่ง " 3. การประยุกต์ เป็น " การปรับใช้ " มิใช่ " การลอกเลียน " 4. การประยุกต์ นำ " บางส่วน " ของ " บางสิ่ง " มาใช้ 5. การประยุกต์นำสิ่งหนึ่งมาปรับใช้ใน " บทบาทหน้าที่ใหม่ " เพื่อ " เป้าหมายใหม่ " อ้างอิง เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงประยุกต์. กรุงเทพ: ซัสเซสมีเดียม, 2546. ขอขอบคุณ

การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด | MindMeister Mind Map

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูลเพียงพอ จึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล นำเสนอผลที่ได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจำลองหรือรูปวาด 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมแนวคิดที่ได้จะช่วยเชื่อมโยงกับเรื่องต่างๆ ทำให้เกิดความรู้กว้างขึ้น 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไรและมากน้อยเพียงใด จากนั้นจะนำไปสู่การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นๆ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเนื้อหา หลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ได้ความรู้

การพัฒนา กระบวนการ คิด รูป แบบ ต่างๆ

  • ศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • Snow white and the seven dwarfs srt
  • ทอง 916 ราคา
  • Texas chicken thailand เมนู
  • โปรแกรม acdsee pro 5 mg
  • คำถามพัฒนากระบวนการคิดระบบเค... | ดูวิธีการแก้ปัญหาได้ที่ QANDA
  • Rpm rba coil ราคา 3
  • คิ้วออมเบร คิ้วสไลด์ คือคิ้วอะไร? ราคายังไง รู้ยัง? ชี้เป้า #5 ร้านสักคิ้วแบบฝุ่น สวยแบบไม่ต้องลุ้น ไม่มีโป๊ะ! มีแต่ปัง! │ beauty-worthen
  • อัพเดทราคา Cellox ล่าสุด | 17/4/2565
  • ศุภาลัย เบลล่า เวสต์เกต(่Supalai Bella Westgate) บ้านเดี่ยวบ้านแฝดและทาวน์โฮม 2 ชั้น กับฟังก์ชั่นที่ลงตัว ใกล้เซ็นทรัลเวสต์เกต | รีวิว คอนโด บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ทาวน์โฮม อสังหาฯ
  • ลอง แล พังงา เขาหลัก
  • เพลงเก่าร้องใหม่ เพลงเก่าเพราะๆ

การพัฒนากระบวนการคิด - GotoKnow

ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็นไว้ ดังนี้คือ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรม กำหนดสถานการณ์หรือปัญหา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังกล่าว แนวการพัฒนาทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็นมีดังนี้ 1.

การประเมิน เป็นการคิดตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์ เป็นทักษะการคิดชั้นสูง โดยให้ เปรียบเทียบ หาคุณค่า จัดลำดับ สร้างทางเลือก สนับสนุน สรุปความ อธิบาย แยก มิติของการคิด เป็นการวิเคราะห์การคิดเพื่อพัฒนา เป็น 6 มิติ หากเกิดขึ้นอย่างครบถ้วนและมีคุณภาพก็จะส่งผลให้การคิดนั้นมีคุณภาพตามไปด้วย 1. ข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ในการคิด แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม และสิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ข้อมูลมากจะเอื้อต่อการคิด 2 คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิด ได้แก่ ความเป็นผู้มีใจกว้าง เป็นธรรม ใฝ่รู้กระตือรือร้นช่างวิเคราะห์ ผสมผสาน ขยัน กล้าเสี่ยง อดทน มีความมั่นใจในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์ดี 3. ทักษะการคิด มี 2ระดับ คือ ทักษะการคิดพื้นฐานและทักษะการคิดชั้นสูง การคิดพื้นฐาน เป็นทักษะเบื้องต้น ไม่ซับซ้อนเป็นพื้นฐานต่อการคิดระดับสูง เช่น ทักษะการสื่อความหมาย การฟัง การอ่าน การจำ การพูด การเขียน ทักษะการคิดที่เป็นแกน เป็นทักษะทั่วไปที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การสังเกต การสำรวจ การตั้งคำถาม การจัดลำดับ การเปรียบเทียบ การสรุปอ้างอิง การตีความ แปลความ การให้เหตุผล การสรุป การขยายความ ทักษะการคิดชั้นสูง ใช้ทักษะพื้นฐานซับซ้อน เช่น การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การประเมินผล การจัดระบบความคิด การค้นหาแบบแผน การสร้างความรู้ 4.

การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด by 1. ปัจจัย 2 ปัจจัย 1. 1. ปัจจัยภายใย 1. 2. ปัจจัยภายใน 2. ประเภทของกระบวนการคิด มี 3ประเภท 2. ทักษะการคิด 2. ลักษณะการคิด 2. 3. กระบวนการคิด 3. ลักษณะการคิด 9 ลักษณะ 3. การคิดแบบหลากหลาย 3. การคิดวิเคราะห์ 3. การคิดริเริ่ม 3. 4. 5. การคิดอย่างมีเหตุมีผล 3. การคิดละเอียดรอบคอบ 3. 6. การคิดกว้าง 3. 7. การคิดลึกซึ้ง 3. 8. การคิดดีคิดให้ถูกต้อง 3. 9. คิดไกล 4. กระบวนการคิด 4 กระบวกการ 4. คิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. คิดตัดสินใจ 4. คิดแก้ปัญหา 4. คิดตามระเบียบวิธี