พฤติกรรม การ เรียน รู้ 3 ด้าน

การพัฒนาตนเป็น กระบวนการของ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเราเอง ให้ไปสู่ภาวะที่ ดีกว่าและ เป็นที่ต้องการ มากกว่า แต่กระบวนการ ดังกล่าว ไม่ใช่เรื่องง่ายทั้งนี้เพราะพฤติกรรมมนุษย์นั้นซับซ้อน มีองค์ประกอบ และปัจจัย เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็น ที่ผู้ศึกษา จะต้องทำความรู้จักสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเพื่อที่จะได้จัดการ ให้มีอิทธิพล เชิงบวก หรือหลีกเลี่ยง หากมีอิทธิพลเชิงลบต่อ การพัฒนาตนเอง การศึกษาปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม จะช่วยให้เข้าใจ พฤติกรรมมนุษย์ ได้ดียิ่งขึ้น ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ประกอบด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านชีวภาพ 1. พันธุกรรม 2. การทำงานของระบบในร่างกาย 3. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) 4. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา 1. แรงจูงใจ 2. การเรียนรู้ ปัจจัยพื้นฐานด้านสังคมวิทยา 1. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม 2. กระบวนการสังคมประกิต 3.

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม - max social

การตอบสนอง คือการมีปฎิกิริยาโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมที่รับเข้ามาด้วยความเต็มใจ 3. การเห็นคุณค่า เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังที่รับรู้สิ่งแวดล้อม และมีปฎิกิริยาโต้ตอบสังเกตได้จากพฤติกรรมที่ยมรับค่านิยมใดค่านิยมหนึ่ง 4. การจัดรวบรวมเป็นการพิจราณา และรวบรวมค่านิยมให้เข้าเป็นระบบค่านิยมหรือสร้างมโนทัศน์ของค่านิยม 5. การพิจรณาคุณลักษณะจากค่านิยม เป็นเรื่องของความประพฤติ คุณสมบัติ และคุณลักษณะของแต่ละบุคคลที่เป็นผลของความรู้สึก 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นจดประสงค์ ที่เกี่ยวกับทักษะในการเคลื่อนไหว และใช้อวัยวะต่างๆของร่างกายมีลำดับการพัฒนาดังนี้ 1. การเลียนแบบ เป็นการทำตามัวอย่างที่ครูให้ หรือดูแบบจากของจริง 2. การทำตามคำบอก เป็นการทำตามตัวอย่างที่ครูให้ 3. การทำอย่างถุกต้องเหมาะสม เป็นการกระทำโดยนักเรียนอาศัยความรู้ที่เคยทำมาก่อนแล้วเพิ่มเติม 4. การทำถูกต้องหลากหลายรูปแบบ เป็นการกระทำในเรื่องคล้ายๆกันและแยกรูปแบบได้ถูกต้อง 5. การทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ เป็นการทำให้เกิดความชำนาญ และสำเร็จในเวลาที่รวดเร็ว

พฤติกรรมทางการศึกษา - ครูเชียงราย

3 ระเบียนพฤติการณ์เป็นแบบบันทึกพฤติกรรมที่ได้จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนตามที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างเรียนหรือนอกห้องเรียน โดยสังเกตจะบันทึกรายละเอียดพฤติกรรมตามที่สังเกตได้เท่านั้นจะไม่บันทึกส่วนที่เป็นความรู้สึกนึกคิดหรือความคิดเห็นของตนลงไปด้วย

พฤติกรรม (Behavior) – Tuemaster เรียนออนไลน์ ม.ปลาย

2.2 พฤติกรรมการเรียนรู้ - EthologyAMT

หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา: บทที่ 7 การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยและทักษะพิสัย

พฤติกรรมการเรียนรู้ 3 ด้าน

แนวคิดทฤษฎีด้านพฤติกรรมสุขภาพ - GotoKnow

และเราจะได้ประโยชน์จากความเข้าใจความแตกต่างนั้นได้อย่างไร? ใครควรเข้าร่วม?

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม - GotoKnow

3 การวัดผลจากการปฏิบัติจริงโดยอาจจะวัดที่กระบวนการวัดผลงานหรือวัดทั้งสองอย่างร่วมกันการกำหนดเครื่องมือที่ใช้ ในการวัดภาคปฏิบัตินั้นจะต้องสอดคล้องกับวิธีการวัด 3. 4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล โดยจะต้องคำนึงถึงการเลือกเครื่องมือให้เหมาะกับคุณลักษณะที่ต้องการวัดและหลักในการสร้างเครื่องมือประเภทนั้น 3. 5 ตรวจสอบคุณภาพ หลังจากสร้างเครื่องมือเรียบร้อยแล้วก่อนที่จะนำไปใช้วัดจริง ควรตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดก่อนจนแน่ใจว่าเครื่องมือนั้นมีคุณลักษณะที่สำคัญของเครื่องมือที่ดี 3. 6 ปรับปรุงเครื่องมือเมื่อทราบผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือแล้วผู้สร้างควรปรับปรุงเครื่องมือให้พร้อมนำไปใช้ในสถานการณ์จริง 3. 7 กำหนดวิธีการประเมินผลเพื่อให้สามารถแปลความหมายของคะแนนให้เข้าใจตรงกันเกณฑ์การให้คะแนนควรกำหนดวิธีการตรวจให้คะแนนอย่างละเอียดให้สามารถเข้าใจได้ตรงกัน 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจะมีทั้งการทดสอบแบบเขียนตอบหรือการทดสอบเชิงจำแนกและไม่ใช่การทดสอบเป็นการให้ปฏิบัติจริงหรือปฏิบัติเชิงสถานการณ์ในที่นี้จะยกตัวอย่างให้ดูทั้งสองแบบเพื่อเป็นแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ 4.

การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด ( Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้มากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม ( Affective Domain) หมายถึง เมื่อบุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ก็ทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ 3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ ( Psychomotor Domain) หมายถึง การที่บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และเกิดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ความสมใจด้วยแล้ว ได้นำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญมากขึ้น เช่น การใช้มือ เป็นต้น ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม-บทเรียน STEM เบื้องต้น

การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้มากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) หมายถึง เมื่อบุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ก็ทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ 3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ (Psychomotor Domain) หมายถึง การที่บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และเกิดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ความสมใจด้วยแล้ว ได้นำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญมากขึ้น เช่น การใช้มือ เป็นต้น แหล่งอ้างอิง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

พฤติกรรมพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมด้านสมอง หรือพฤติกรรมด้านสติปัญญาของมนุษย์ ในปี คศ. 1956 เบนจามิน บลูม และคณะ(Benjamin S. Bloom and other) ได้จำแนกองค์ประกอบของพฤติกรรมพุทธิพิสัย ออกเป็น 6 ลำดับขั้น เริ่มจากขั้นที่ใช้ความสามารถต่ำซึ่งไม่ซับซ้อนไปสู่ขั้นที่ใช้ความสามารถสูงที่มีความซับซ้อน ดังนี้ 1. ความรู้ความจำ เป็นความสามารถในการระลึกได้ถึงเรื่องราวที่ผ่านมา และสามารถถ่ายทอดออกมาได้อย่างถูกต้อง เช่น นักเรียนสามารถบอกสูตรการหาพื้นที่สื่เหลี่ยมผืนผ้าได้ นักเรียนสามารถบรรยายขั้นตอนการตอนกิ่งได้ นักเรียนสามารถบ่งชี้โทษของบุหรี่ได้ 2. ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการผสมผสานความรู้ความจำแล้วถ่ายทอดออกมาในอีกลักษณะหนึ่งที่ไม่เหมือนเดิมโดยที่ ความหมามเดิมไม่เปลี่ยนแปลงไป มี 3 ลักษณะ คือ การแปลความ การตีความ และการขยายความ เช่น นักเรียนสามารถแปลความบทร้อยกรองให้เป็นร้อยแก้วได้ นักเรียนอ่านแผนผังที่กำหนดให้ได้ นักเรียนคาดคะเนแนวโน้มของข้อมูลจากกราฟที่กำหนดให้ได้ 3. การนำไปใช้ เป็นความสามารถนำความรู้ความจำและความเข้าใจไปใช้ แก้ปัญหาในสถานการณ์แปลก ๆ ใหม่ ๆ ได้ เช่น นักเรียนสามารถแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เกี่ยวกับการคูณได้ นักเรียนสามารถใช้คำราชาศัพท์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ 4.

  • จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม | MANASAK
  • การกำหนดและการจำแนกจุดประสงค์การเรียนการสอน | krucomedu
  • เทคนิค การ เล่น บา คา ร่า sa
  • แหวน ทอง 18k ราคา
  • พฤติกรรม (Behavior) – Tuemaster เรียนออนไลน์ ม.ปลาย
  • การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม - GotoKnow
  • แบบ แปลน อาคารเรียน ส ป. ช 105 29
  • Benz gls 350d ราคา 2018
  • หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา: บทที่ 7 การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยและทักษะพิสัย
  • สติ๊กเกอร์ติดบรรจุภัณฑ์อาหาร
  • หา งาน การ์ด wifi
พฤกษา 79 pantip