ความ รับผิด ของ กรรมการ บริษัท

2 ขึ้นต่อสู้กับบริษัทไม่ได้ เพราะอายุความตามมาตรานี้เป็นเรื่องระหว่างผู้ถือหุ้นกับกรรมการเท่านั้น (ฎ. 1032/2482) -กรณีที่ลูกจ้างของบริษัทขับรถส่งแก๊สโดยประมาท รถพลิกคว่ำ เกิดเพลิงไหม้อาคาร เจ้าของอาคารจะอ้าง ม. 1069 และ 233 ว่า เป็นเจ้าหนี้มูลละเมิดมาฟ้องให้กรรมการบริษัทรับผิดใช้ค่าเสียหายด้วยหาได้ไม่ เพราะกรรมการมิได้ทำให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท (ฎ. 4546/2540) ข)กรรมการผู้ต้องรับผิด กรรมการผู้กระทำผิดหน้าที่ หรือละเลยหน้าที่จนเกิดความเสียหายแก่บริษัท ย่อมต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่บริษัท กรรมการผู้ไม่มีส่วนรู้เห็นในการกระทำผิดหรือละเลยหน้าที่ไม่ต้องร่วมรับผิดด้วย -กรรมการอำนวยการซึ่งได้รับมอบให้จัดการบริษัทคือผู้จัดการตาม ม. 1164 ส่วนกรรมการบริษัทที่ไม่ใช่ผู้จัดการและไม่มีหน้าที่จัดการธุรกิจของบริษัทไม่ต้องร่วมรับผิด กับผู้จัดการในกรณีจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ ทำให้บริษัทเสียหายอันมิใช่สาเหตุโดยตรง หากกิจการนั้นเป็นการจัดการธุรกิจของบริษัท ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการ และมิได้อยู่ในข้อใดข้อหนึ่งตาม ป. พ. ม. 1168 ซึ่งกรรมการทุกคนต้องรับผิดร่วมกัน (ฎ. 1980/2519)

ความรับผิดทางอาญา กรรมการผู้แทนนิติบุคคล กฎหมายใหม่ดีกว่าเดิมจริงหรือ (1)

ข้อถือสิทธิ คำถาม - คำตอบที่เกี่ยวเนื่องกับปัญหาข้อกฎหมายใน คลินิกกฎหมาย จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทางด้านกฎหมายแก่ผู้เข้าชมเท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือใช้แทนการวินิจฉัยในการดำเนินคดีของทนายความแก่ลูกความเฉพาะรายได้ เนื่องจากการวินิจฉัยปัญหาของลูกความแต่ละรายมีรายละเอียดข้อมูลที่แตกต่างกัน หากมีการนำข้อมูลเว็บไซต์ไปใช้โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ประกอบวิชาชีพด้านกฎหมาย ศูนย์นิติศาสตร์จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น อ่านเพิ่มเติม
1. ปัจจุบันเป็นกรรมการของบริษัท A และทำงานให้กับบริษัท A จะสามารถทำงานให้บริษัทอื่น หรือจัดตั้งบริษัทอื่นได้หรือไม่ ในลักษณะงานใกล้เคียงกัน
2. ถ้าหากลาออกจากกรรมการ และพนักงานบริษัท A แล้ว เป็นแค่เพียงผู้ถือหุ้น จะสามารถทำงานให้บริษัทอื่น หรือจัดตั้งบริษัทอื่นได้หรือไม่ ในลักษณะงานใกล้เคียงกัน
3. ทั้งข้อ 1 และ ข้อ 2 หากมีความผิด จะมีความผิดเกี่ยวกับกฎหมายประเภทไหน ข้อใดบ้าง อย่างไร
จะต้องทิ้งระยะเวลาเท่าไหร่ จึงจะไม่มีความผิด sukanya 03 กันยายน 2557 18:02:32 IP: 58. 11. 199. 197

2550(*2) มาตรา 29 วรรค 2 แห่งร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. 2559(*3) และมาตรา 227วรรค 2 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.

พ มาตรา 1168) (1) การชำระเงินค่าหุ้นของผู้ถือหุ้นนั้นได้มีการชำระเข้าบริษัทจริง (2) มีการจัดทำสมุดบัญชีและเอกสารครบถ้วนเรียบร้อยตามที่กฎหมายกำหนด (3) การจ่ายเงินปันผลหรือดอกเบี้ยเป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย (4) มีการปฏิบัติตามมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น อ้างอิง: บริษัทจำกัด, รองศาสตราจารย์ พิเศษ เสตเสถียร นายสถิตย์ อินตา ทนายความ 083-568-1148 ติดตามข่าวสารของเราทาง Facebook: สำนักกฎหมายนำชัย พรมทา เว็บไซต์: อ่านบทความ: โทรปรึกษา ฟรี! 086-331-4759 | 086-847-2297 | 083-568-1148 E-mail: Line Official: @numchailawyers สำนักกฎหมายนำชัยพรมทา, กฎหมาย, นำชัยพรมทา, บทความกฎหมาย, คลังความรู้กฎหมาย, ปรึกษากฎหมายฟรี, ปรึกษาด้านกฎหมาย, จ้างทนายความ

อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบกรรมการบริษัท

ความรับผิดของกรรมการบริษัท

ผู้แทนนิติบุคคลมีความรับผิดเด็ดขาด (ผู้แทนนิติบุคคลต้องรับผิดเสมอเมื่อนิติบุคคลนั้นกระทำความผิด พิสูจน์เป็นอย่างอื่นไม่ได้) เช่น มาตรา 25แห่งพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ. 2499 มาตรา 26แห่งพระราชบัญญัติสถานบริการ พ. 2509 (ฉบับแรกและฉบับแก้ไขเพิ่มเติมในปี 2525) กรณีที่กฎหมายบัญญัติให้กรรมการหรือผู้แทนนิติบุคคลรับผิดเด็ดขาดกฎหมายจะบัญญัติในลักษณะมีดังนี้ มาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ. 2499 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) บัญญัติว่า "ในกรณีที่บริษัทจำกัดใดกระทำความผิดตามมาตรา 7ถึงมาตรา 24กรรมการของบริษัทนั้น หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท" (*1) 1มาตรา 7 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ. 2477 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) "ในการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาคดีที่นิติบุคคลเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลย ให้ออกหมายเรียกผู้จัดการหรือผู้แทนอื่นๆ ของนิติบุคคลนั้น ให้ไปยังพนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี" (*2) 2มาตรา 39 วรรค 2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.

เรื่องที่ 8 ความรับผิดทางแพ่งของกรรมการบริษัท น้าสิด ทำงานที่ สำนักงานทนายพงศ์รัตน์ รัตนพงศ์ อาคารพิบูลย์คอนโด 1 ซอย กรุงเทพ นนทบุรี 44 ใกล้สี่แยกวงศ์สว่าง บางซื่อ กรุงเทพฯ ได้รับคำถามเรื่องนี้ จึงรวมกับทนายเอก ขัตติยะ นวลอนงค์ เรียบเรียงบทความนี้ เป็นความรู้กฎหมายสู่ประชาชน ทนายพี่ชายน้อย น. บ. ท. 59 ให้ความเห็นว่า กรรมการบริษัทต้องรับผิด ในการกระทำของตนเพียงใดอยู่กับข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยกรรมการต้องรับผิดชอบ ดังนี้ 1. รับผิดชอบต่อบริษัท 2. รับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น 3. รับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก ก. ความรับผิดชอบต่อบริษัท ตาม ป. พพ.

แนวคำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับความรับผิดของกรรมการ

เป็นกรรมการบริษัท(จำกัด)ต้องระวัง กรรมการบริษัทมีหน้าที่จัดการงานของบริษัทด้วยระมัดระวังในระดับเดียวกับที่บุคคลซึ่งทำธุรกิจการค้าทั้งหลายจะพึงระวัง (ป. พ. พ มาตรา 1168) ดังนั้น ถ้าปรากฏว่ากรรมการมิได้ใช้ความระมัดระวังถึงขนาดประมาทเลินเล่อทำให้กิจการของบริษัทเสียหายแล้ว กรรมการก็จะต้องรับผิดชอบ คือบริษัทหรือผู้ถือหุ้นมีสิทธิที่จะฟ้องให้กรรมการชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่บริษัทได้ (ป.

ความรับผิดของกรรมการบริษัท อาญา

13 มี. ค. 2560 เวลา 12:00 น. 10. 0k เมื่อเร็ว ๆ นี้ได้มีการแชร์ข้อมูลในไลน์เกี่ยวกับเรื่อง "พ. ร. บ. เดียว (กรรมการ)เสียวทั้งประเทศ" โดยบอกว่ากฎหมายฉบับนี้จะทำให้กรรมการหรือผู้แทนนิติบุคคลต้องรับผิดโดยทันทีหมดสิทธิ์แก้ตัว และถ้ากรรมการหรือผู้แทนนิติบุคคลมีหน้าที่ต้องทำแล้วไม่ทำตามหน้าที่นั้นต้องรับผิดร่วมกันทั้งหมด แถมยังบอกว่าถ้าเป็นกรรมการต้องคิดให้ดีและควรมีนักกฎหมายเก่งๆ ไว้ข้างตัว ความจริงแล้ว สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้มีการตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ. ศ. 2560 (พ.

ร. บ. สรรพสามิตฯ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าผู้จัดการสาขาไม่เป็นตัวการร่วมกับจำเลยที่ 1 และ 2 โดยวินิจฉัยถึงพยานหลักฐานที่โจทก์นำมาสืบพิสูจน์ ยังมีเหตุอันควรสงสัยว่าจำเลยที่ 3 (ผู้จัดการสาขา) จะได้กระทำความผิดจริงหรือไม่ ซึ่งเป็นการวินิจฉัยตามหลักที่ว่า โจทก์มีหน้าที่ต้องนำสืบพิสูจน์ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำความผิด เมื่อนำสืบไม่ได้หรือมีเหตุอันควรสงสัย ศาลก็จะต้องพิพากษายกฟ้องไป เรื่องการผลักภาระการพิสูจน์ให้แก่กรรมการตามกฎหมายเฉพาะนั้น สืบเนื่องจากคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญเรื่อง พ.

  • โครงการ บ้าน ใหม่ สนามบินน้ำ
  • ความรับผิดของกรรมการบริษัท ฎีกา
  • แต่ง รูป canva
  • ความรับผิดของกรรมการบริษัท อาญา
  • ความรับผิดของกรรมการบริษัท ทางแพ่ง
  • ความรับผิดทางอาญา กรรมการผู้แทนนิติบุคคล กฎหมายใหม่ดีกว่าเดิมจริงหรือ (1)