ป่า ไม้ ภาค เหนือ

ตาก นายพันทิพย์ ชาญถิ่นดง ปลัดอาวุโส อ. แม่สอด เจ้าหน้าที่สายตรวจป่าไม้ ตร. ปทส. ตร. สภ. แม่สอด ทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารราบที่ 14 กำนัน ต. แม่ปะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 6 เข้าตรวจสอบบริเวณป่าอุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ หมู่ที่ 6 ต. แม่ปะ หลังมีนายทุนจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาแผ้วถางป่าจำนวนมาก พบพื้นที่ถูกแผ้วถางและทำการเผาทิ้งเป็นบริเวณกว้างกว่า 100 ไร่ มีต้นไม้สัก ไม้ประดู่ รวมทั้งไม้เบญจพรรณอื่นๆ จำนวนกว่า 1, 000 ต้นถูกโค่นและเผาทิ้งกระจัดกระจายทั่วบริเวณเป็นที่น่าเสียดาย คาดว่านายทุนจะเตรียมพื้นที่ปลูกอ้อยส่งโรงงานเอทานอล จากการตรวจสอบพิกัดพบว่าที่ดินผืนดังกล่าวอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญทั้งหมด ซึ่งพื้นที่เกิดเหตุอยู่ไม่ไกลจากหน่วยป่าไม้ หน่วยไฟป่า รวมทั้งอยู่ใกล้ด่านความมั่นคงไม่ถึง 1 กิโลเมตร นายสิงห์คำ อุษา กำนัน ต. แม่ปะ กล่าว่า นายทุนเข้ามาบุกรุกป่าต้นน้ำลำธาร เจ้าหน้าที่ทำอะไรกันอยู่เมื่อป่าต้นน้ำลำธารถูกบุกรุก ลูกหลานจะอยู่อย่างไร วอนผู้หลักผู้ใหญ่ที่มีอำนาจเข้ามาบริหารจัดการให้กับชาวบ้านด้วย เพราะลำพังคนในพื้นที่ไม่สามารถทำอะไรได้ ขณะที่ จ. อุตรดิตถ์ พ. อ. ปฐวี ศรีสุข ผบ. ม. 2 ค่ายพิชัยดาบหัก พร้อมด้วยนายสมบูรณ์ ด่านรัชตกุล นายอำเภอท่าปลา พ.

  1. ฝ่ายอนุญาตใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ภาคเหนือ – ส่วนอนุญาตใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้
  2. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - หน้าแรก
  3. ป่าไม้ภาคเหนือ

ฝ่ายอนุญาตใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ภาคเหนือ – ส่วนอนุญาตใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้

45 24. 02 102, 156, 350. 53 2017 2561 56, 480, 932. 45 52. 55 15, 750, 098. 53 15. 03 5, 126, 835. 05 22. 40 13, 923, 207. 47 11, 207, 228. 70 24. 28 102, 488, 302. 19 31. 68 2018 2562 56, 392, 370. 41 52. 46 15, 751, 998. 41 5, 128, 000. 46 13, 983, 942. 96 33. 16 11, 227, 760. 46 24. 33 102, 484, 072. 71 2019 2563 56, 304, 603. 27 52. 38 15, 718, 049. 67 14. 99 5, 126, 304. 72 13, 982, 552. 23 11, 221, 974. 88 24. 31 102, 353, 484. 76 31. 64 2020 พื้นที่ภาคเหนือ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ภาคตะวันออก พื้นที่ภาคกลาง พื้นที่ภาคใต้ พื้นที่ประเทศ Total 107, 489, 799. 49 104, 823, 709. 24 22, 889, 386. 44 42, 170, 903. 09 46, 154, 901. 40 323, 528, 699. 65

ป่าดงดิบ ป่าชนิดนี้ขึ้นอยู่ทั่วไปในทุกภาคของประเทศตามท้องที่ที่มีฝนตกชุก และท้องที่ที่มีความชุ่มชื้นมาก แต่ที่มีขึ้นอยู่มากที่สุด ได้แก่ ทางภาคตะวันออก และภาคใต้ มีเนื้อที่ป่าทั้งหมดประมาณ ๑๑ ล้านเฮกตาร์ พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ กะบาก ยมหอม อบเชย ตะเคียน ยาง ชุมแพรก ตะแบก กันเกรา อินทนิล บุนนาค พันจำ ก่อ พญาไม้ มังตาล กำยาน หลุมพอ เคี่ยม ฯลฯ ๒. ป่าผลัดใบผสมหรือเบญจพรรณ (Mixed decidouous forests) ขึ้นอยู่ทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ ๖ ล้านเฮกตาร์ ทางภาคเหนือมีไม้สักขึ้นปะปนอยู่ทั่วไปในป่าชนิดนี้ ทางภาคกลางคงมีอยู่บ้างในบางท้องที่ เช่น ที่กาญจนบุรี ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเคยมีไม้สักขึ้นอยู่บ้างในจังหวัดขอนแก่น หนองคาย และนครพนม แต่ปัจจุบันนี้มีเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ป่าเบญจพรรณ อำเภองาว จังหวัดลำปาง พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ไม้สัก กว้าว มะค่าโมง ปันแถ ยมหิน เกล็ดดำ เกล็ดแดง ตะแบก ประดู่ ปอ มะกอก แค ปู่เจ้า ตีนนก โมก แดง ฯลฯ นอกจากนี้ ยัง มีไม้ไผ่ชนิดต่างๆ อีกด้วย ๓. ป่าแดง (Dry dipterocarp forests) ขึ้นอยู่ทางภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีป่าชนิดนี้มากที่สุดคือ มีอยู่ร้อยละ ๗๐-๘๐ ของป่าชนิดต่างๆ หรือประมาณ ๑๐ ล้านเฮกตาร์ พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ กว้าว เหียง กราด พลวง ซาก กะบก ตะแบกนา อินทนิล เต็ง รัง ประดู่ พยอม มะค่าแต้ รกฟ้า สมอแดง ก่อชนิดต่างๆ ฯลฯ

  • ซื้อ หมุดย้ำ หัวกลม ทองแดง/เหล็ก ผ่านทางออนไลน์
  • ตรวจแล้ว! ตัดไม้ป่าสาธารณะ อบต.โคกสะอาด ไม่พบทำผิดซึ่งหน้า ระบุปรับพื้นที่เตรียมสร้างอาคารเรียน
  • สมเด็จ ฐาน โต๊ะ
  • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - หน้าแรก
  • ทรัพยากรภาคเหนือ | คณิตในชีวิตประจำวัน
  • ขนาด ห้อง รับแขก มาตรฐาน

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - หน้าแรก

ต. สมนึก มากมี ผกก. ท่าปลา ร. ท. ทวี มั่นมี หัวหน้าชุดปฏิบัติการมวลชนที่ 3 อ. ท่าปลา ได้สนธิกำลังทหาร ตำรวจ และปกครองอำเภอท่าปลา และร่วมกับหน่วยป้องกันรักษาป่า อต. 1 อ. ท่าปลา รวม 50 นาย บุกตรวจค้นบ้านเลขที่ 14/3 ม. 7 บ้านนาดงนก ต. ผาเลือด อ. ท่าปลา ของนายจันทร์ เงินลอย อายุ 49 ปี ตามหมายศาลจังหวัดอุตรดิตถ์ เลขที่ 80/2560 เพื่อตรวจค้นยาเสพติดและอาวุธปืน จากการตรวจค้น พบไม้สักทองแปรรูปจำนวน 167 แผ่น มีทั้งฝาบ้าน แผ่นกระดาน แปร คิดเป็นปริมาตร 1. 6032 ลูกบาศก์เมตร มูลค่ากว่า 75, 000 บาท และยังพบเลื่อยยนต์ 1 เครื่อง เลื่อยวงเดือน (สกายแลป) 2 เครื่อง และพบอาวุธปืนลูกซองยาวไม่มีทะเบียน พร้อมกระสุน 4 นัด จากการสอบสวน นายจันทร์ ให้การว่า ซื้อไม้สักทองแปรรูปทั้งหมดมาจากชาวบ้าน บ้านนาดงนก หมู่ที่ 7 ต. ท่าปลา เพื่อมาสร้างบ้าน แต่เจ้าหน้าที่ตำรวจยังไม่ปักใจเชื่อคำให้การในครั้งนี้ เนื่องจากบริเวณหลังบ้านมีแท่นทำไม้ด้วย เบื้องต้นได้ทำการตรวจยึดและส่งตัวให้ ร. ศุภณัฐ อุปนันไชย รอง สว. (สอบสวน) สภ. ท่าปลา เพื่อดำเนินคดีตามข้อหา พ. ร. บ. ป่าไม้ พ. ศ. 2548 มาตรา 48 ภายในเขตควบคุมการแปรรูปไม้ ห้ามมิให้ผู้ใดแปรรูปไม้ และมีไม้สักแปรรูปไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 50, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หลังจากนั้นได้มีการปล่อยแถวกองกำลังทั้งหมด พร้อมด้วยเฮลิคอปเตอร์ของป่าไม้ออกปฏิบัติการตรวจค้นบนป่าสงวนแห่งชาติลำนำน่านฝั่งขวา เพื่อขยายผลหาแหล่งที่มาของไม้สักทองแปรรูปต่อไป พ.

เผยแพร่: 13 มี. ค. 2565 12:31 ปรับปรุง: 13 มี. 2565 12:31 โดย: ผู้จัดการออนไลน์ กาฬสินธุ์ - ทสจ. กาฬสินธุ์ พร้อมศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ รุดตรวจสอบพื้นที่สาธารณะหลัง อบต. โคกสะอาด อ. ฆ้องชัย จ. กาฬสินธุ์ หลังชาวบ้านร้องตัดไม้โดยไม่ทำประชาคม เผยผลตรวจสอบไม่พบทำผิดซึ่งหน้าและไม้ของกลาง ระบุเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางราชการ เตรียมสร้างเป็นอาคารเรียน 3 ชั้น จากกรณีชาวบ้านใน ต. กาฬสินธุ์ ร้องเรียนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าตรวจสอบเหตุตัดต้นไม้ในป่าสาธารณประโยชน์ หลัง อบต. โคกสะอาด พื้นที่ประมาณ 4 ไร่ไปชั่งกิโลขายเผาถ่าน ระบุเป็นการตัดไม้โดยไม่ได้ทำประชาคม อีกทั้งยังเผาเศษไม้ เพิ่มฝุ่นละอองด้วย ขณะที่นายก อบต. โคกสะอาดแจง ตัดไม้เพื่อให้มีพื้นที่สร้างอาคารเรียน 3 ชั้น มูลค่า 8, 000, 000 บาทเศษ เพื่อดึงนักเรียนกลับมา หลังจำนวนนักเรียนลดลง เนื่องจากกลัวงูและสัตว์ป่า ตามข่าวที่เสนอแล้วนั้น ล่าสุดที่บริเวณหลังที่ทำการ อบต. โคกสะอาด และโรงเรียน อบต. กาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะ นายอัครพงษ์ เขียวแจ่ม ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ. ) กาฬสินธุ์ พร้อมด้วยนายประจัน ดาวังปา ผู้อำนวยการศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ และเจ้าหน้าที่ทั้ง 2 หน่วยงาน ร่วมกันตรวจสอบพื้นที่ โดยมีนายประเทือง นาถมทอง รองปลัด อบต.

ชัยสิทธิ์ เลี้ยงศิริ หัวหน้าศูนย์วนวัฒนวิจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และหัวหน้าสถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ณ บริเวณลานกีฬาวุฒิวิจารณ์ สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช ตามมติของ คณะรัฐมนตรี ที่กำหนดให้ ให้ทุกๆ วันพุธ เวลา 15. 00-16. 30 น. เป็นช่วงเวลาออกกำลังกายของส่วนราชการต่างๆ 22-11-2559 Hits:2079 กิจกรรม Super User วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ จัดฝึกอบรมหลักสูตร รุกขกร รุ่นที่2 ณ สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา โดยมีนายธิติ วิสารัตน์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิจัยการจัดการป่าไม้ รักษาราชแทนผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ เป็นประธานในพิธีเปิด และนายคงศักดิ์ มีแก้ว ผู้อำนวยการกลุ่มงานวนวัฒนวิจัย กล่าวรายงาน ทั้งนี้มีผู้แทนผู้อำนวยการสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 8 (นครราชสีมา) และนายชัยสิทธิ์ เลี้ยงศิริ หัวหน้าสถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช ให้เกียรติมาร่วมงานอีกด้วย Read more

ป่าไม้ภาคเหนือ

อุดมทรัพย์ อ. นครราชสีมา ในหัวข้อ การตัดแต่งกิ่ง การศัลยกรรมต้นไม้ และการปีนต้นไม้ขนาดใหญ่โดยแบ่งเป็น 4 ฐานกิจกรรม ได้แก่ 1. สาธิตการใช้อุปกรณ์ในการปีนต้นไม้ขนาดใหญ่ 2.... Read more 11-07-2560 Hits:1511 กิจกรรม Super User เมื่อวันศุกร์ที่ 7 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา นายดุริยะ สถาพร หัวหน้าสถานีวนวัฒน์วิจัยสะแกราช พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สถานีวนวัฒน์วิจัยสะแกราช ได้เข้าร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่นิสิตคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่องการตัดแต่งกิ่ง การศัลยกรรมต้นไม้ และการปีนขึ้นต้นไม้ขนาดใหญ่ ณ สถานีฝึกนิสิตวนศาสตร์ วังน้ำเขียว ต.

สัญจรพิษณุโลก-สุโขทัยที่ผ่านมา ได้มอบเอกสารที่ทำกินในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 3-4-5 ที่ประชาชนไปอยู่ก่อน มิถุนายน 2541 ที่มีการผ่อนผัน ก็ได้เร่งรัดโครงการจัดที่ทำกิน หรือ คทช. ซึ่งนายกรัฐมนตรีก็ได้มอบในอนุญาตทำกินใน 21 พื้นที่ ใน 14 จังหวัดภาคเหนือร่วม 90, 000 กว่าไร่ ให้กับประชาชน 8, 800 กว่าราย วันนี้ก็มาพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้ประชาชนได้มีโอกาส ถ้าประชาชนเข้มแข็ง ก็รวมตัวกัน เพื่ออนุญาตให้ทางราชการพิจารณาออกที่ดินทำกินให้ ถ้าเป็นของกรมป่าไม้ กรมป่าไม้ก็พิจารณาอนุญาตให้ แต่ของอุทยานปัจจุบันยังไม่สามารรถอนุญาตได้ กำลังพิจารณาแก้กฎหมาย เพื่อให้อธิบดีกรมอุทยานอนุญาตได้ ส่วนนโยบายป้องกันการบุกรุกทำลายป่าและนโยบายทวงคืนผืนป่า รมว. กระทรวงทรัพย์ เปิดเผยว่า วันนี้ถือว่าหยุดโดยสิ้นเชิง เรากำลังฟื้นป่าคืนขึ้นมา นโยบายทวงคืนผืนป่าในปี 2561 ขอยืนยันว่าดำเนินการต่อแน่นอน แต่เป้าหมายเฉพาะพื้นที่ที่นายทุนมีอิทธิพลที่ใช้อำนาจเข้ามาครอบครองโดยมิชอบ จำเป็นต้องใช้หน่วยป้องกันและปราบปรามเข้าไปดำเนินการ แต่สำหรับประชาชนเราใช้นโยบายส่งเสริมสนับสนุน ซึ่งยังมีหลายพื้นที่ที่ยังต้องป้องกันการตัดไม้ทำลายป่าอย่างต่อเนื่อง เช่น ที่จังหวัดแพร่ ขโมยตัดไม้ ประดู่ ชิงชัน ส่งออกไปต่างประเทศ เวลานี้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการพิทักษ์ป่าอยู่ที่จ.

วังน้ำเขียว จ.

22 ซึ่งตั้งใจว่า ปี 2565 จะลดจุดความร้อนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติลงอย่างต่อเนื่อง